กิฟฟารีน มะรุม-ซี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารใบมะรุม ผสมวิตามินซี ชนิดแคปซูล กิฟฟารีน Giffarine Marum-C
Marum-C มะรุม-ซี
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ใบมะรุมผสมวิตามินซี ชนิดแคปซูล (ตรากิฟฟารีน)
ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล
ใบมะรุมชนิดผง 80.22% (450 มก.)
กรดแอสคอร์บิก 2.67% (15 มก.) (ให้วิตามิน ซี 15 มก.)
อย.13-1-03440-1-0105
วิธีรับประทาน : รับประทานครั้งละ 1-2 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง เช้าและก่อนนอน
คำเตือน : อ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภค ไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค
ขนาด 60 แคปซูล
ราคาปกติ 280 บาท
*ได้รับการรับรองระบบประกันคุณภาพ GMP สากล และ HACCP สำหรับการผลิต ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจาก Bureau Veritas certification
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"มะรุม"
มะรุมเป็นพืชสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหารอยู่ในหลายประเทศ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Moringa oleifera Lamk มะรุมมีชื่อเรียกต่าง ๆ คือ “drum stick tree” “horse radish tree” “kelor tree” ส่วนต่าง ๆ ที่ใช้รับประทานคือ ใบ ผล ดอก และฝักอ่อน สำหรับในประเทศไทย นิยมใช้ฝักมะรุมปรุงอาหารในรูปของแกงส้ม แกงอ่อม
การใช้ประโยชน์ทางยา พบว่า เกือบจะทุก ๆ ส่วนของต้นมะรุม มีการนำไปใช้ทางยาในแถบเอเชียใต้ ส่วนที่ใช้คือ ราก เปลือกต้น กัม (gum) ใบ ผล (ฝัก) ดอก เมล็ด และน้ำมันจากเมล็ด
สำหรับงานวิจัยที่น่าสนใจในสัตว์ทดลองมีโดยย่อดังนี้
ฤทธิ์ลดความดันโลหิต สารสกัดน้ำและเอทานอลของใบมะรุม สารสกัดเอทานอลของผลและฝัก สารในกลุ่ม glycosides ในสารสกัดเมทานอลของฝักแห้งและเมล็ด แสดงฤทธิ์ลดความดันโลหิตในสุนัขและหนูแรท
ฤทธิ์ต้านการเกิดเนื้องอกและฤทธิ์ต้านมะเร็ง สารสำคัญในกลุ่ม thiocarbamate จากใบ สารสกัดเอทานอลของเมล็ด แสดงฤทธิ์ทั้งยับยั้งการเจริญเติบโต และทำลายเซลล์มะเร็ง เมื่อป้อนสารสกัดของผลและฝัก ขนาด 5 มก./กก. น้ำหนักตัว มีผลลดจำนวนหนูเม้าส์ที่เป็นมะเร็งผิวหนังได้
ฤทธิ์ลดระดับโคเลสเตอรอล สารสกัดน้ำของส่วนใบ มีผลลดระดับโคเลสเตอรอลและลดการเกิด plaque ในหลอดเลือดของหนูแรทและกระต่าย ซึ่งได้รับอาหารชนิดที่มีไขมันสูง การทดสอบโดยให้กระต่ายที่มีระดับโคเลสเตอรอลสูงและกระต่ายปกติ โดยให้กินผลมะรุมขนาด 200 มก./กก. น้ำหนักตัว ต่อวัน นาน 120 วัน เปรียบเทียบกับยาลดไขมันโลวาสแตทิน 6 มก./กก. น้ำหนักตัว ต่อวัน และให้อาหารไขมันมาก พบว่า มีผลลดระดับโคเลสเตอรอล, phospholipids, triglycerides, low density lipoprotein (LDL), very low density lipoprotein (VLDL), อัตราส่วนระหว่างโคเลสเตอรอลและ phospholipids และ atherogenic index ในกระต่ายกลุ่มแรกได้
ฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร สารสกัดเมทานอลของใบ และสารสกัดเมทานอลจากส่วนดอก สามารถยับยั้งการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูแรท ซึ่งถูกเหนี่ยวนำโดยแอสไพรินได้ ในขณะที่สารสกัดน้ำจากใบมีผลป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารด้วย
ฤทธิ์ป้องกันตับอักเสบ สารสกัด 80% เอทานอลจากใบ สารสกัดน้ำและสารสกัดเอทานอลจากดอก มีฤทธิ์ป้องกันการทำลายเซลล์ตับหนูแรทที่ได้รับ acetaminophen (ยาพาราเซตามอล) และสารสกัดน้ำจากส่วนรากแสดงฤทธิ์ป้องกันการทำลายเซลล์ตับหนูแรทจากการ เหนี่ยวนำโดยยาไรแฟมพิซิน
ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน สารสกัดน้ำ สารสกัด 80% เมทานอล และสารสกัด 70% เอทานอลจากส่วนใบ ผงแห้งบดหยาบและสารสกัดน้ำจากเมล็ด และสารในกลุ่ม phenol จากส่วนราก สามารถต้านและกำจัดอนุมูลอิสระได้
ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย น้ำคั้นสดของใบ สารประกอบคล้าย pterygospermin ของดอก สารสกัดอะซีโตนและสารสกัดเอทานอลจากเมล็ด สารสกัดน้ำจากเมล็ด น้ำคั้นจากเปลือกต้น สารสกัดเอทานอลของเปลือกราก และสาร athomin จากเปลือกราก มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด นอกจากนี้ยังมีการใช้สารสกัดน้ำมันจากเมล็ด ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับใช้ กับตา โดยพบว่า ใช้ได้ดีกับ pyodermia ในหนูเมาส์ ที่มีสาเหตุมาจาก Staphylococcus aureus
ฤทธิ์ลดระดับน้ำตาล ผงใบแห้ง สารสกัด 95% เอทานอล และเถ้าจากเปลือกต้น มีผลลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนูแรทปกติ และหนูที่เป็นเบาหวาน ส่วนสารสกัดเมทานอลจากเปลือกรากแสดงฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในหนูเม้าส์
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ชาชงน้ำร้อน และสารสกัดเมทานอลจากราก มีฤทธิ์ยับยั้งอาการบวมที่อุ้งเท้าหลังของหนูแรทและหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยว นำด้วยคาราจีแนน ในขณะที่เมล็ดแก่สีเขียว สารสกัดเอทานอลจากเมล็ดแห้ง และสารสกัดเอทานอลจากเมล็ด มีผลลดการอักเสบของทางเดินหายใจในหนูตะเภา ซึ่งยืนยันถึงการใช้มะรุมในทางพื้นบ้านเพื่อบำบัดอาการผิดปกติจากภูมิแพ้ เช่น หอบหืด สารสกัดเอทานอลจากเมล็ด สามารถลดการบวมของอุ้งเท้าบริเวณข้อของหนูแรท และพบว่า สารสกัดมะรุมมีผลลด oxidative stress ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ต้านการอักเสบด้วย
นอกจากฤทธิ์ดังกล่าวข้างต้น มีงานวิจัยจากต่างประเทศหลายงานวิจัยรองรับว่า มะรุมมีสารอาหารต่าง ๆ มากมาย เช่น เป็นแหล่งของโปรตีน มีวิตามิน เบต้า-แคโรทีน กรดอะมิโน อีกทั้งยังเป็นแหล่งของ แคลเซียม เหล็ก และสังกะสี นอกจากนี้แล้ว ยังพบว่า มะรุมมีสาร Polyphenol ซึ่งมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระด้วย
สำหรับความเป็นพิษของใบมะรุมนั้น มีการรายงานความเป็นพิษเฉียบพลัน (Acute Toxicity) ของมะรุมในระดับสัตว์ทดลองว่า ผงใบมะรุมขนาด 5 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน (อ้างอิงที่) หรืออาจจะเปรียบเทียบได้ว่า น้ำหนักตัวที่ 50 กิโลกรัม การได้รับผงใบมะรุมขนาด 25 กรัม ไม่ทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน
ข้อแนะนำในการรับประทาน แม้ว่า จะเป็นที่นิยมรับประทาน กันมาเป็นเวลานาน หรือเป็นอาหารสุขภาพที่นิยมรับประทานกันในคนไทยมาร่วมปีแล้ว แต่เนื่องจาก มะรุมยังไม่มีงานวิจัยความเป็นพิษระยะยาวในสัตว์ทดลอง คำแนะนำคือ ควรมีระยะเวลาพักในการรับประทานบ้าง คือ อาจจะไม่ทานต่อเนื่องทุกวัน ควรมีระยะพัก ต่อเดือนประมาณ 5-7 วัน
ข้อห้าม สำหรับผู้ที่จะรับประทาน มะรุม - เด็ก และสตรีมีครรภ์ เป็นข้อห้ามสำหรับสมุนไพรทุกชนิดอยู่แล้ว
- ผู้ป่วยโรค เลือด จีซิกพีดี (G6PD) (โรคเลือดอื่น ๆ ไม่ได้ห้าม) โรคนี้จะห้ามรับประทาน ถั่วปากอ้า ซึ่งในมะรุม มีสารบางชนิดคล้ายในถั่วปากอ้า จึงควรห้ามรับประทานไปด้วย
- สตรี ที่อาจจะตั้งครรภ์ หรือ มีศักยภาพที่จะตั้งครรภ์ เช่น อยู่ในวัย และไม่ได้รับประทานยาคุมกำเนิด เป็นต้น เพราะมีงานวิจัยว่า ปริมาณสูง ทำให้เกิดการแท้งในหนูทดลองได้
- ผู้ป่วยโรค ตับ ตับอักเสบ หรือตับแข็ง เป็นข้อห้ามสำหรับสมุนไพรทุกชนิดอยู่แล้ว
- ผู้ที่รับประทานยา ต้านไวรัส เอชไอวี เพราะอาจจะมีผลรบกวนระดับยาได้
มะรุมเป็นพืชสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหารอยู่ในหลายประเทศ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Moringa oleifera Lamk มะรุมมีชื่อเรียกต่าง ๆ คือ “drum stick tree” “horse radish tree” “kelor tree” ส่วนต่าง ๆ ที่ใช้รับประทานคือ ใบ ผล ดอก และฝักอ่อน สำหรับในประเทศไทย นิยมใช้ฝักมะรุมปรุงอาหารในรูปของแกงส้ม แกงอ่อม
การใช้ประโยชน์ทางยา พบว่า เกือบจะทุก ๆ ส่วนของต้นมะรุม มีการนำไปใช้ทางยาในแถบเอเชียใต้ ส่วนที่ใช้คือ ราก เปลือกต้น กัม (gum) ใบ ผล (ฝัก) ดอก เมล็ด และน้ำมันจากเมล็ด
สำหรับงานวิจัยที่น่าสนใจในสัตว์ทดลองมีโดยย่อดังนี้
ฤทธิ์ลดความดันโลหิต สารสกัดน้ำและเอทานอลของใบมะรุม สารสกัดเอทานอลของผลและฝัก สารในกลุ่ม glycosides ในสารสกัดเมทานอลของฝักแห้งและเมล็ด แสดงฤทธิ์ลดความดันโลหิตในสุนัขและหนูแรท
ฤทธิ์ต้านการเกิดเนื้องอกและฤทธิ์ต้านมะเร็ง สารสำคัญในกลุ่ม thiocarbamate จากใบ สารสกัดเอทานอลของเมล็ด แสดงฤทธิ์ทั้งยับยั้งการเจริญเติบโต และทำลายเซลล์มะเร็ง เมื่อป้อนสารสกัดของผลและฝัก ขนาด 5 มก./กก. น้ำหนักตัว มีผลลดจำนวนหนูเม้าส์ที่เป็นมะเร็งผิวหนังได้
ฤทธิ์ลดระดับโคเลสเตอรอล สารสกัดน้ำของส่วนใบ มีผลลดระดับโคเลสเตอรอลและลดการเกิด plaque ในหลอดเลือดของหนูแรทและกระต่าย ซึ่งได้รับอาหารชนิดที่มีไขมันสูง การทดสอบโดยให้กระต่ายที่มีระดับโคเลสเตอรอลสูงและกระต่ายปกติ โดยให้กินผลมะรุมขนาด 200 มก./กก. น้ำหนักตัว ต่อวัน นาน 120 วัน เปรียบเทียบกับยาลดไขมันโลวาสแตทิน 6 มก./กก. น้ำหนักตัว ต่อวัน และให้อาหารไขมันมาก พบว่า มีผลลดระดับโคเลสเตอรอล, phospholipids, triglycerides, low density lipoprotein (LDL), very low density lipoprotein (VLDL), อัตราส่วนระหว่างโคเลสเตอรอลและ phospholipids และ atherogenic index ในกระต่ายกลุ่มแรกได้
ฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร สารสกัดเมทานอลของใบ และสารสกัดเมทานอลจากส่วนดอก สามารถยับยั้งการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูแรท ซึ่งถูกเหนี่ยวนำโดยแอสไพรินได้ ในขณะที่สารสกัดน้ำจากใบมีผลป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารด้วย
ฤทธิ์ป้องกันตับอักเสบ สารสกัด 80% เอทานอลจากใบ สารสกัดน้ำและสารสกัดเอทานอลจากดอก มีฤทธิ์ป้องกันการทำลายเซลล์ตับหนูแรทที่ได้รับ acetaminophen (ยาพาราเซตามอล) และสารสกัดน้ำจากส่วนรากแสดงฤทธิ์ป้องกันการทำลายเซลล์ตับหนูแรทจากการ เหนี่ยวนำโดยยาไรแฟมพิซิน
ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน สารสกัดน้ำ สารสกัด 80% เมทานอล และสารสกัด 70% เอทานอลจากส่วนใบ ผงแห้งบดหยาบและสารสกัดน้ำจากเมล็ด และสารในกลุ่ม phenol จากส่วนราก สามารถต้านและกำจัดอนุมูลอิสระได้
ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย น้ำคั้นสดของใบ สารประกอบคล้าย pterygospermin ของดอก สารสกัดอะซีโตนและสารสกัดเอทานอลจากเมล็ด สารสกัดน้ำจากเมล็ด น้ำคั้นจากเปลือกต้น สารสกัดเอทานอลของเปลือกราก และสาร athomin จากเปลือกราก มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด นอกจากนี้ยังมีการใช้สารสกัดน้ำมันจากเมล็ด ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับใช้ กับตา โดยพบว่า ใช้ได้ดีกับ pyodermia ในหนูเมาส์ ที่มีสาเหตุมาจาก Staphylococcus aureus
ฤทธิ์ลดระดับน้ำตาล ผงใบแห้ง สารสกัด 95% เอทานอล และเถ้าจากเปลือกต้น มีผลลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนูแรทปกติ และหนูที่เป็นเบาหวาน ส่วนสารสกัดเมทานอลจากเปลือกรากแสดงฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในหนูเม้าส์
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ชาชงน้ำร้อน และสารสกัดเมทานอลจากราก มีฤทธิ์ยับยั้งอาการบวมที่อุ้งเท้าหลังของหนูแรทและหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยว นำด้วยคาราจีแนน ในขณะที่เมล็ดแก่สีเขียว สารสกัดเอทานอลจากเมล็ดแห้ง และสารสกัดเอทานอลจากเมล็ด มีผลลดการอักเสบของทางเดินหายใจในหนูตะเภา ซึ่งยืนยันถึงการใช้มะรุมในทางพื้นบ้านเพื่อบำบัดอาการผิดปกติจากภูมิแพ้ เช่น หอบหืด สารสกัดเอทานอลจากเมล็ด สามารถลดการบวมของอุ้งเท้าบริเวณข้อของหนูแรท และพบว่า สารสกัดมะรุมมีผลลด oxidative stress ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ต้านการอักเสบด้วย
นอกจากฤทธิ์ดังกล่าวข้างต้น มีงานวิจัยจากต่างประเทศหลายงานวิจัยรองรับว่า มะรุมมีสารอาหารต่าง ๆ มากมาย เช่น เป็นแหล่งของโปรตีน มีวิตามิน เบต้า-แคโรทีน กรดอะมิโน อีกทั้งยังเป็นแหล่งของ แคลเซียม เหล็ก และสังกะสี นอกจากนี้แล้ว ยังพบว่า มะรุมมีสาร Polyphenol ซึ่งมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระด้วย
สำหรับความเป็นพิษของใบมะรุมนั้น มีการรายงานความเป็นพิษเฉียบพลัน (Acute Toxicity) ของมะรุมในระดับสัตว์ทดลองว่า ผงใบมะรุมขนาด 5 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน (อ้างอิงที่) หรืออาจจะเปรียบเทียบได้ว่า น้ำหนักตัวที่ 50 กิโลกรัม การได้รับผงใบมะรุมขนาด 25 กรัม ไม่ทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน
ข้อแนะนำในการรับประทาน แม้ว่า จะเป็นที่นิยมรับประทาน กันมาเป็นเวลานาน หรือเป็นอาหารสุขภาพที่นิยมรับประทานกันในคนไทยมาร่วมปีแล้ว แต่เนื่องจาก มะรุมยังไม่มีงานวิจัยความเป็นพิษระยะยาวในสัตว์ทดลอง คำแนะนำคือ ควรมีระยะเวลาพักในการรับประทานบ้าง คือ อาจจะไม่ทานต่อเนื่องทุกวัน ควรมีระยะพัก ต่อเดือนประมาณ 5-7 วัน
ข้อห้าม สำหรับผู้ที่จะรับประทาน มะรุม - เด็ก และสตรีมีครรภ์ เป็นข้อห้ามสำหรับสมุนไพรทุกชนิดอยู่แล้ว
- ผู้ป่วยโรค เลือด จีซิกพีดี (G6PD) (โรคเลือดอื่น ๆ ไม่ได้ห้าม) โรคนี้จะห้ามรับประทาน ถั่วปากอ้า ซึ่งในมะรุม มีสารบางชนิดคล้ายในถั่วปากอ้า จึงควรห้ามรับประทานไปด้วย
- สตรี ที่อาจจะตั้งครรภ์ หรือ มีศักยภาพที่จะตั้งครรภ์ เช่น อยู่ในวัย และไม่ได้รับประทานยาคุมกำเนิด เป็นต้น เพราะมีงานวิจัยว่า ปริมาณสูง ทำให้เกิดการแท้งในหนูทดลองได้
- ผู้ป่วยโรค ตับ ตับอักเสบ หรือตับแข็ง เป็นข้อห้ามสำหรับสมุนไพรทุกชนิดอยู่แล้ว
- ผู้ที่รับประทานยา ต้านไวรัส เอชไอวี เพราะอาจจะมีผลรบกวนระดับยาได้
ประโยชน์ของมะรุม
สรรพคุณของมะรุมช่วยบำรุงผิวพรรณให้ชุ่มชื้น อ่อนนุ่ม ไม่ให้หยาบกร้าน
✅มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระช่วยในการชะลอวัย (น้ำมันมะรุม)
✅ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
✅ช่วยรักษาโรคขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิดถึงอายุ 10 ขวบ
✅ใช้รักษาโรคหอบหืด (Asthma) (ยาง)
✅ช่วยรักษาโรคภูมิแพ้
✅ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคที่ต่ำลงของผู้ป่วยเอดส์
✅ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย (ดอก)
✅ช่วยบำรุงธาตุไฟ (ราก)
✅ช่วยคุมธาตุอ่อน ๆ (เปลือกของลำต้น)
✅แก้ลมอัมพาต (เปลือกของลำต้น)
✅ช่วยลดไขมันและคอเลสเตอรอลในร่างกาย (ฝัก)
✅มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็ง (ใบ, ดอก, ฝัก, เมล็ด, เปลือกของลำต้น)
✅ช่วยรักษาโรคมะเร็งในกระดูก
✅ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยรังสี การดื่มน้ำมะรุมจะ
✅ช่วยให้อาการแพ้รังสีฟื้นตัวเร็วขึ้น
✅ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตในร่างกาย
✅ช่วยรักษาโรคโลหิตจาง
✅มะรุมลดความดัน รักษาโรคความดันโลหิตสูง (ใบ, ฝัก)
✅ใช้รักษาโรคหัวใจ (ราก)
✅มะรุมลดน้ำตาล ช่วยรักษาโรคเบาหวานโดยรักษาความ
✅สมดุลของระดับน้ำตาล
สรรพคุณของมะรุมช่วยบำรุงผิวพรรณให้ชุ่มชื้น อ่อนนุ่ม ไม่ให้หยาบกร้าน
✅มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระช่วยในการชะลอวัย (น้ำมันมะรุม)
✅ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
✅ช่วยรักษาโรคขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิดถึงอายุ 10 ขวบ
✅ใช้รักษาโรคหอบหืด (Asthma) (ยาง)
✅ช่วยรักษาโรคภูมิแพ้
✅ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคที่ต่ำลงของผู้ป่วยเอดส์
✅ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย (ดอก)
✅ช่วยบำรุงธาตุไฟ (ราก)
✅ช่วยคุมธาตุอ่อน ๆ (เปลือกของลำต้น)
✅แก้ลมอัมพาต (เปลือกของลำต้น)
✅ช่วยลดไขมันและคอเลสเตอรอลในร่างกาย (ฝัก)
✅มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็ง (ใบ, ดอก, ฝัก, เมล็ด, เปลือกของลำต้น)
✅ช่วยรักษาโรคมะเร็งในกระดูก
✅ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยรังสี การดื่มน้ำมะรุมจะ
✅ช่วยให้อาการแพ้รังสีฟื้นตัวเร็วขึ้น
✅ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตในร่างกาย
✅ช่วยรักษาโรคโลหิตจาง
✅มะรุมลดความดัน รักษาโรคความดันโลหิตสูง (ใบ, ฝัก)
✅ใช้รักษาโรคหัวใจ (ราก)
✅มะรุมลดน้ำตาล ช่วยรักษาโรคเบาหวานโดยรักษาความ
✅สมดุลของระดับน้ำตาล
สามารถนำรหัสสมาชิก 20139294 ไปซื้อได้ที่ศูนย์ธุรกิจกิฟฟารีนทั่วประเทศ
สั่งซื้อออนไลน์ หรือติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
Email : jingkrabell@gmail.com
โทร. 0992832271 /Line : 0992832271